A A A

บทความสำหรับเภสัชกร และบุคลากรทางการแพทย์

(For pharmacists and healthcare professionals)

          (บทความนี้ เหมาะสำหรับเภสัชกร และบุคลากรทางการแพทย์ อาจมีการกล่าวถึงยาบางชนิดซึ่งประชาชนไม่ควรซื้อใช้เองโดยไม่ได้รับคำแนะนำจากแพทย์หรือเภสัชกรอย่างเหมาะสม สำหรับบางคน ยาอาจมีประโยชน์ แต่ในบางคน ยาอาจทำให้เกิดผลข้างเคียงหรืออันตรายได้มากกว่าประโยชน์ที่จะได้รับ)

          ฮอร์โมนเอสโตรเจนที่มีการนำมาใช้ในทางคลินิกในปัจจุบัน มีทั้งชนิดที่มาจากธรรมชาติ ได้แก่ estrone (E1)  estradiol (E2)  และ estriol (E3) ซึ่งถูกค้นพบตั้งแต่ปี ค.ศ. 1929 1931 และ 1933 ตามลำดับ ต่อมาจึงมีการสังเคราะห์ฮอร์โมน ethinyl estradiol (EE) ในปี ค.ศ. 1938 และได้รับการรับรองจาก FDA ในปี ค.ศ. 1943 นอกจากนี้ยังมีฮอร์โมนเอสโตรเจนจากธรรมชาติอีกชนิดหนึ่ง คือ conjugated equine estrogens (CEEs) ซึ่งสกัดได้จากปัสสาวะของม้าเพศเมีย ถูกนำมาใช้ในปี ค.ศ. 1941 จึงนับเป็นเวลากว่า 80 ปี ที่ไม่มีเอสโตรเจนจากธรรมชาติชนิดใหม่มาใช้ในทางคลินิก [1]

          เมื่อวันที่ 5 ตุลาคม 2565 The Royal Swedish Academy of Sciences ได้ประกาศรายชื่อผู้ได้รับรางวัลโนเบล ประจำปี 2022 ในสาขาเคมี ให้แก่นักวิทยาศาสตร์จำนวน 3 ท่าน คือ ศาสตราจารย์ Carolyn R. Bertozzi จากมหาวิทยาลัยสแตนฟอร์ด ประเทศสหรัฐอเมริกา, ศาสตราจารย์ Morten Meldal จากมหาวิทยาลัยโคเปนเฮเกน ประเทศเดนมาร์ก และ ศาสตราจารย์ K. Barry Sharpless จาก Scripps Research ประเทศสหรัฐอเมริกา จากผลงานการพัฒนา click chemistry และ bioorthogonal chemistry

          (บทความนี้ เหมาะสำหรับเภสัชกร และบุคลากรทางการแพทย์ อาจมีการกล่าวถึงยาบางชนิดซึ่งประชาชนไม่ควรซื้อใช้เองโดยไม่ได้รับคำแนะนำจากแพทย์หรือเภสัชกรอย่างเหมาะสม สำหรับบางคน ยาอาจมีประโยชน์ แต่ในบางคน ยาอาจทำให้เกิดผลข้างเคียงหรืออันตรายได้มากกว่าประโยชน์ที่จะได้รับ)

CONTACT US074-288895
Send us a messagepharmacy-dic@pharmacy.psu.ac.th
Visit usคณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์